Shopping cart close

Notice: Function the_widget was called incorrectly. วิดเจ็ตต้องลงทะเบียนการใช้ register_widget() ก่อน ถึงจะสามารถแสดงผลได้ โปรดดู การแก้ข้อผิดพลาดใน WordPress สำหรับข้อมูลเพิ่มเติม (ข้อความนี้ถูกเพิ่มมาในรุ่น 4.9.0.) in /var/www/html/citu/wordpress/wp-includes/functions.php on line 6031
close

ประวัติคณาจารย์

Curriculum Vitae

Nok-5-20230712

ช่องทางการติดต่อ

ห้อง 403 ชั้น 4
อาคารอเนกประสงค์ 3
วิทยาลัยนวัตกรรม
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กาญจนา เหล่าโชคชัยกุล
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำหลักสูตรปริญญาโทการจัดการมรดกวัฒนธรรมและอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (MCI)
Asst.Prof. Kanjana Laochockchaikul, Ph.D.
Assistant of MCI

ประวัติการศึกษา

  • Ph.D. (Social Development Administration), National Institute of Development Administration (NIDA), 2024
  • สม.ม. (มานุษยวิทยา), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2552
  • ศศ.บ. (การพัฒนาชุมชน) มหาวิทยาลัยทักษิณ, 2548

ความสนใจด้านวิชาการและงานวิจัย

  • มานุษยวิทยาประยุกต์
  • การพัฒนาชุมชน
  • ชุมชนศึกษา (เมืองและชนบท)
  • วัฒนธรรมศึกษา
  • นโยบายด้านวัฒนธรรม

วิชาและการบรรยาย

หลักสูตรปริญญาตรี สาขาการจัดการมรดกวัฒนธรรมและอุตสาหกรรมสร้างสรรค์

HIM 200 แนวคิดและทฤษฎีด้านวัฒนธรรม (หลักสูตร พ.ศ. 2557)

HIM 203 โลกแห่งอารยธรรมและการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม (หลักสูตร พ.ศ. 2557 และ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)

HIM 203 อารยธรรม การเปลี่ยนแปลง และ นวัตกรรม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)

HIM 204 มานุษยวิทยาเพื่อการจัดการทางวัฒนธรรม (หลักสูตร พ.ศ. 2557)

HIM 204 แนวคิดมานุษยวิทยาเพื่องานวัฒนธรรม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)

HIM 211 อาเซียนศึกษาในมิติทางวัฒนธรรมและโลกาภิวัตน์ (หลักสูตร พ.ศ. 2557)

HIM 215 ทัศนวัฒนธรรมร่วมสมัย (หลักสูตร พ.ศ. 2557)

HIM 302 ระเบียบวิธีวิจัยเพื่อการจัดการทางวัฒนธรรม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)

HIM 303 โครงการทางวัฒนธรรมและการระดมทุน (หลักสูตร พ.ศ. 2557)

HIM 303 การจัดการโครงการทางวัฒนธรรม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)

HIM 310 หลักการจัดการและการจัดการองค์การเพื่องานด้านวัฒนธรรม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)

วิชาศึกษาทั่วไป

TU 100 พลเมืองและความรับผิดชอบต่อสังคม

TU 101 โลก อาเซียน และไทย

TU 102 ทักษะชีวิตทางสังคม

TU 106 ความคิดสร้างสรรค์และการสื่อสาร

หลักสูตรปริญญาโท สาขาการจัดการมรดกวัฒนธรรมและอุตสาหกรรมสร้างสรรค์

HIM 750 มรดกวัฒนธรรมและอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ในบริบทสากล

งานวิจัย

(2566) โครงการทบทวนมาตรฐานอาชีพ และคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาอาชีพอนุรักษ์งานศิลปหัตถกรรมและงานพื้นบ้าน สาขาผ้าทอ สาขาเครื่องปั้นดินเผา สาขาเครื่องจักรสาน สาขาเครื่องถม และ อาชีพจัดการธุรกิจผลิตภัณฑ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม (องค์การมหาชน) (นักวิจัยร่วมโครงการ - หัวหน้าโครงการ: ผศ.ดร. อนุชา ทีรคานนท์)

(2566) โครงการวิจัยกิจกรรมการยกระดับแหล่งท่องเที่ยวสู่ระดับสากลด้วยเครื่องมือประเมินมาตรฐานการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวและมรดกโลกอย่างยั่งยืนของ UNESCO - แหล่งทุน: องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) (นักวิจัยร่วมโครงการ - หัวหน้าโครงการ: ผศ.ดร. อนุชา ทีรคานนท์)

(2562) โครงการวิจัยความเหลื่อมล้ำและคนจนเมือง เรื่อง บทเรียนสู่ข้อเสนอเชิงนโยบาย กรณีศึกษานโยบายและแนวทางการเคลื่อนไหวเพื่อปกป้องสิทธิทางสังคมและวัฒนธรรมของชุมชนวัฒนธรรมและย่านประวัติศาสตร์ในกรุงเทพมหานคร - แหล่งทุน: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (หัวหน้าโครงการ)

(2561) โครงการวิจัยเรื่อง “การศึกษาข้อมูลทางประวัติศาสตร์ สังคมและวัฒนธรรมชุมชนเพื่อสนับสนุนงานพัฒนาและเสริมสร้างการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ของชุมชนปากน้ำประแส” - แหล่งทุน: กองทุนวิจัยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (หัวหน้าโครงการ)

(2559) โครงการวิจัยเรื่อง “แนวทางในการน้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ ในภาคส่วนต่างๆ ของสังคมไทย: ศึกษาและวิเคราะห์จากงานวิจัย ในช่วงพ.ศ. 2545 - 2554 และกรณีตัวอย่างแห่งความสำเร็จ - แหล่งทุน: กองทุนวิจัยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (หัวหน้าโครงการ)

(2558) โครงการวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถของชุมชนวัดพระธาตุเสด็จ จังหวัดลำปางในการศึกษาและถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมชุมชน” แหล่งทุน: กองทุนวิจัยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (นักวิจัยร่วมโครงการ - หัวหน้าโครงการ: อาสา คำภา)

(2558) วัฒนธรรมจีนในมุมมองและความหมายของผู้บริโภคชาวไทย กรณีศึกษา วรรณกรรมจีนร่วมสมัยประเภทนิยายและการ์ตูน - แหล่งทุน: ทุนอุดหนุนการวิจัยจากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม (หัวหน้าโครงการ)

(2557) โครงการจัดทำแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี โดยความร่วมมือระหว่าง สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล กรุงเทพมหานคร และคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (นักวิจัยร่วมโครงการ - หัวหน้าโครงการ: ศ.ดร.จรัล สุวรรณมาลา)

(2556) บ้านสันติชล: แหล่งท่องเที่ยวจีนยูนนาน อำเภอปาย - บ้านยาง ชุมชนจีนยูนนานในแหล่งท่องเที่ยว อำเภอฝาง (นักวิจัยร่วมโครงการ - หัวหน้าโครงการ: อัจฉราพร กมุทพิสมัย)

(2556) ตลาดเก่า: ความเปลี่ยนแปลงและผลกระทบในฐานะแหล่งท่องเที่ยว - แหล่งทุน: กองทุนวิจัยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (หัวหน้าโครงการ)

(2555) ศักยภาพและการพัฒนาองค์กรเครือข่ายทางวัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอย่างยั่งยืนกรณีศึกษาเครือข่ายประชาสังคมเมืองเชียงใหม่กับการฟื้นฟูสืบสานวัฒนธรรมล้านนา เครือข่ายเมืองศิลป์อุบลราชธานี เครือข่ายชมรมเพื่อนพิพิธภัณฑ์แห่งนครปฐม และเครือข่ายตลาดเก่าและตลาดน้ำ (นักวิจัยร่วมโครงการ - หัวหน้าโครงการ: วารุณี โอสถารมย์)

(2554) โครงการอนุรักษ์และพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ย่านนางเลิ้ง - แหล่งทุน: สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว กรุงเทพมหานคร (นักวิจัยร่วมโครงการ - หัวหน้าโครงการ: ดร. อนุชา ทีรคานนท์)

(2553) โครงการประวัติศาสตร์บอกเล่าโรงเรียนเตรียมปริญญามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง โดยหอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (นักวิจัยร่วมโครงการ - หัวหน้าโครงการ: วารุณี โอสถารมย์)

(2551) งานวิจัยเรื่อง “ธรรมาภิบาลและยุทธศาสตร์การวิจัยไทย” - แหล่งทุน: สำนักงานคณะกรรมการวิจัย (นักวิจัยผู้ช่วย - หัวหน้าโครงการ: ผศ.ดร. นลินี ตันธุวนิตย์)

(2551) โครงการศึกษาเทศกาลงานประเพณีไทยเพื่อตลาดการท่องเที่ยว - แหล่งทุน: การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (นักวิจัยผู้ช่วย - หัวหน้าโครงการ: อ.ดร.อนุชา ทีรคานนท์)

(2547) โครงการวิจัย “การศึกษาการตรวจสอบโดยสังคม: เครื่องมือด้านการบริหารจัดการเพื่อการลดความยากจนและเพิ่มความเข้มแข็งท้องถิ่นในประเทศไทย” ในพื้นที่จังหวัดพัทลุง ขององค์กร CIET ร่วมกับสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (นักวิจัยผู้ช่วย/หัวหน้าคณะผู้เก็บข้อมูลภาคสนาม (Field Worker Supervisor) - หัวหน้าโครงการ: ผศ. ภาณุ ธรรมสุวรรณ)

บทความวิชาการ

ภาษาอังกฤษ

(2023) “From a Nation-Building Tool to an Economic Resource: Genealogy of Thai Cultural Policy.” The International Journal of Critical Cultural Studies 22 (1): 17-34.  doi:10.18848/2327-0055/CGP/v22i01/17-34. (Kanjana Laochockchaikul, and Phichai Ratnatilaka Na Bhuket)

(2023) “Identity and Cultural Policy: The Role of Culture in Thailand’s Development Agenda." The International Journal of Interdisciplinary Cultural Studies 19 (1): 7-31. doi:10.18848/2327-008X/CGP/v19i01/7-31. (Kanjana Laochockchaikul, and Phichai Ratnatilaka Na Bhuket)

ภาษาไทย

(2566) กระบวนการในการศึกษาข้อมูลทางประวัติศาสตร์ สังคม และวัฒนธรรม เพื่อสนับสนุนการพัฒนาชุมชนปากน้ำประแส อำเภอแกลง จังหวัดระยอง. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์. ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2566) หน้า 47-60. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/JSSRA/article/view/261028

(2566) นัยแห่งการจัดแบ่งประเภทของเมืองเก่ากับการจัดการ: กรณีเปรียบเทียบการจัดแบ่งขององค์การยูเนสโกและประเทศไทย. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 (มกราคม - เมษายน) หน้า 97-110. (ผู้เขียนร่วม เตชวัน ปัญญาวุฒิธรรม และ กาญจนา เหล่าโชคชัยกุล) https://so06.tci-thaijo.org/index.php/husojournal/article/view/261343

(2566) การศึกษาการเคลื่อนไหวเพื่อปกป้องสิทธิทางสังคมและวัฒนธรรมของชุมชนวัฒนธรรมและย่านประวัติศาสตร์ในกรุงเทพมหานคร. วารสารวิจยวิชาการ ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (มีนาคม - เมษายน 2566) หน้า 103-120 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/jra/article/view/259054

(2566) “มองภาพ “ความเป็นชาย” ผ่านตัวละครเอกในซีรีส์บอยเลิฟ”. วารสารสหวิทยาการวิจัยและวิชาการ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 (มกราคม - กุมภาพันธ์ 2566) หน้า 113–126. (ผู้เขียนร่วม: อริสรา โฉมงาม และ กาญจนา เหล่าโชคชัยกุล) https://so03.tci-thaijo.org/index.php/IARJ/article/view/265666

(2564) “จาก OTOP ถึง OTOP นวัตวิถี: นโยบายการพัฒนาที่มีชุมชนเป็นฐาน?”. วารสารไทยคดีศึกษา ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - สิงหาคม 2564). หน้า 114-146 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/thaikhadijournal/article/view/253346

(2562) “กิจการเพื่อสังคมเพื่อการพัฒนาสังคม”. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ วิทยาลัยสงฆ์นครสวรรค์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 (กันยายน - ธันวาคม 2562). หน้า 251-262. (ผู้เขียนร่วม: กาญจนา เหล่าโชคชัยกุล วรนุช สิปิยารักษ์ พินธุสร โพธิ์อุไร อนงค์ลักษณ์ พันธุ์พรหมธาดา และ จันทิมา นวะมะวัฒน์) https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jgsnsbc-journal/article/view/238938

(2560) “แนวทางในการน้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติในภาคส่วนต่าง ๆ ของสังคมไทย: การศึกษาและสังเคราะห์จากงานวิจัยในช่วง พ.ศ. 2545 - 2554”. วารสารไทยคดีศึกษา ปีที่ 14 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2560). หน้า 1-24. (ผู้เขียนร่วม: กาญจนา เหล่าโชคชัยกุล ศุภารมย์ ประสาทแก้ว และ มณฑี พฤกษ์ปาริชาติ)

(2559) “การพัฒนาความสามารถของชุมชนวัดพระธาตุเสด็จ จังหวัดลำปาง ในการศึกษาและถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมชุมชน”. วารสารไทยคดีศึกษา ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2559). หน้า 115-150. (ผู้เขียนร่วม: อาสา คำภา กาญจนา เหล่าโชคชัยกุล ศุภารมย์ ประสาทแก้ว และ สุระ พิริยะสงวนพงศ์)

(2558) “กระบวนการจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในตลาดเก่า และตลาดน้ำเพื่อการท่องเที่ยว”. วารสารวิชาการท่องเที่ยวไทยนานาชาติ ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2557). หน้า 32 - 41. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jitt/article/view/31357

(2557) "ศักยภาพและการพัฒนาองค์กรเครือข่ายทางวัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอย่างยั่งยืน: ถอดบทเรียน พัฒนาการและวิเคราะห์กระบวนการเครือข่ายผ่านกิจกรรมทางวัฒนธรรม 4 กรณีศึกษา". วารสารไทยคดีศึกษา ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 (ตุลาคม 2556 - มีนาคม 2557). หน้า 127-198. (ผู้เขียนร่วม: วารุณี โอสถารมย์ สิโรตม์ ภินันท์รัชต์ธร อาสา คำภา และ กาญจนา เหล่าโชคชัยกุล)

(2556) "หฺมฺรับ และประเพณีเดือนสิบ: พิธีกรรมและความเปลี่ยนแปลงในกระแสการท่องเที่ยว". วารสารไทยคดีศึกษา ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 (ตุลาคม 2555 - มีนาคม 2556). หน้า 81-104.

(2555) “เพราะว่า...เป็นมากกว่าแค่ “นิยาย”: บททดลอง “อ่าน” และวิเคราะห์ปรากฏการณ์ความนิยมนิยายรักวัยรุ่น”. วารสารไทยคดีศึกษา ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 (ตุลาคม 2553 - มีนาคม 2554). หน้า 182-222.

(2552) “เศรษฐกิจข้าวสู่ปาล์มน้ำมัน” ชาวนาปากพนัง โลกาภิวัตน์ และการพัฒนา”. วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์  มหาวิทยาลัยทักษิณ. ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 (ตุลาคม 2552 – มีนาคม 2553) หน้า 167-194.

งานประชุมวิชาการระดับนานาชาติ

(2017) Oral presentation “Is Tourism the (only) Best ‘Choice’ for Community Rehabilitation and Development?” in 13th International Conference on Thai Studies , 15-18 July 2017, Chiang Mai, Thailand

(2016) Oral presentation “The Process of Studying History and Socio - Culture of Pak Nam Prasae Community for Community Development and Ecotourism Project” in The International Journal of Arts & Sciences’ (IJAS) International Conference, November 1-4, 2016, Prague, Czech Republic

(2010) Oral Presentation in ARSA Rural Sociology IV International Conference, “From Rice Economy to Oil Palm Plantation: Occupational Alternatives of Farmers in Pak Phanang District, Thailand”, at Bicol university, Legazpi City, Philippines, 7-10 September 2010 ตีพิมพ์ใน Asian Rural Sociology Association International Conference IV Proceedings (2010) Published by the College of Agriculture, University of the Philippines Los Banos, Philippines 

งานประชุมวิชาการระดับชาติ

(2558) นำเสนอผลงานภาคบรรยาย เรื่อง “กระบวนการศึกษาประวัติศาสตร์ สังคมและวัฒนธรรมชุมชนเพื่อสนับสนุนงานพัฒนาและเสริมสร้างการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ของชุมชนปากน้ำประแส” ใน การประชุมทางวิชาการระดับชาติ มอบ.วิจัย ครั้งที่ 9 ระหว่างวันที่ 2 - 3 กรกฎาคม 2558 ณ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

(2558) นำเสนอผลงานภาคโปสเตอร์ เรื่อง “วัฒนธรรมจีนในมุมมองของผู้บริโภคชาวไทยศึกษาผ่านตลาดวรรณกรรมจีนร่วมสมัยประเภทนิยาย” ใน โครงการประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 35 (The 35th National Research Conference) จัดโดยสภาคณะผู้บริหารบัณฑิตศึกษาแห่งประเทศไทย (สคบท.) ร่วมกับ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนคินทร์มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครราชสีมา มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด และบัณฑิตวิทยาลัยร่วมกับสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ ระหว่างวันที่ 25-26 มิถุนายน 2558 ณ ห้องราชนครินทร์ ชั้น 5 อาคารราชนครินทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ จังหวัดฉะเชิงเทรา

(2557) - นำเสนอผลงานภาคโปสเตอร์ เรื่อง “กระบวนการจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ในตลาดเก่าและตลาดน้ำเพื่อการท่องเที่ยว” ในการประชุมวิชาการระดับชาติ นเรศวรวิจัยครั้งที่ 10 ระหว่างวันที่ 22-23 กรกฎาคม 2557 ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร

- นำเสนอผลงานภาคโปสเตอร์ เรื่อง “ศักยภาพและการพัฒนาองค์กรเครือข่ายทางวัฒนธรรม เพื่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอย่างยั่งยืน: ถอดบทเรียน พัฒนาการและวิเคราะห์กระบวนการเครือข่ายผ่านกิจกรรมทางวัฒนธรรม 4 กรณีศึกษา” ในการประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ เรื่อง “สร้างสรรค์และพัฒนา เพื่อก้าวหน้าสู่ประชาคมอาเซียน”, วันที่ 23 พฤษภาคม 2557 (วันงานจริงเลื่อนเป็นวันที่ 31 พฤษภาคม 2557) ณ วิทยาลัยนครราชสีมา

(2555) นำเสนอผลงานภาคโปสเตอร์ เรื่อง “จากผืนนาสู่สวนปาล์ม: ชาวนาปากพนังกับทางเลือกในการลงทุน และความเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตและอาชีพ” ใน การประชุมวิชาการข้าวแห่งชาติ ครั้งที่ 2 “มิติใหม่วิจัยข้าวไทย”, วันที่ 21-23 ธันวาคม 2555 

 (2553) นำเสนอผลงานภาคบรรยาย เรื่อง “อ่าน” (วัยรุ่น) ผ่านปรากฏการณ์นิยายรัก (วัยรุ่น)” ในงานสัมมนาเครือข่ายวิชาการ-วิจัยด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 4 ณ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, วันที่ 30 สิงหาคม 2553

เกียรติประวัติ

- รางวัลนักวิจัยรุ่นใหม่ดีเด่นระดับคณะ ประจำปี 2557 ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- รางวัลการนำเสนอผลงานวิจัยแบบบรรยาย ระดับดี กลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ในการประชุมทางวิชาการระดับชาติ มอบ.วิจัย ครั้งที่ 9 ระหว่างวันที่ 2 - 3 กรกฎาคม 2558 ณ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

 

ข้อมูลเพิ่มเติม

ตำราและเอกสารการสอน
(2555) 
เอกสารการสอนชุดวิชา วัฒนธรรมพื้นบ้านของไทย หน่วยที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมพื้นบ้านของไทย ของ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

(2555)  เอกสารการสอนชุดวิชา วัฒนธรรมกับการท่องเที่ยว หน่วยที่ 7 การท่องเที่ยวตามวิถีไทย ของ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช