อดิพล เอื้อจรัสพันธุ์ (2564). หัวหน้า “โครงการวิจัย เจนเนอเรชั่น Z กับการกลั่นแกล้งบนโลกออนไลน์ของเยาวชนไทย ในเขตกรุงเทพมหานคร” (ทุนกองทุนวิจัยวิทยาลัยนวัตกรรมมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
อดิพล เอื้อจรัสพันธุ์ (2564). หัวหน้า “โครงการวิจัย “พฤติกรรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์ของเจเนอเรชั่น X เจเนอเรชั่น Y และเจเนอเรชั่น Z” (มูลนิธิอินเทอร์เน็ตร่วมพัฒนาไทย)
อดิพล เอื้อจรัสพันธุ์ (2563). หัวหน้า “โครงการวิจัย เรื่องรายการเกษตรในทีวีดิจิทัลไทย” (ทุนกองทุนวิจัยวิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
อดิพล เอื้อจรัสพันธุ์ (2563). ที่ปรึกษาและนักวิจัย “โครงการประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการขับเคลื่อนประเด็น "สารเคมีการเกษตร" ของไทยพีบีเอส” ( ทุนสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส Thai PBS)
อดิพล เอื้อจรัสพันธุ์ (2562). ที่ปรึกษาและนักวิจัย “โครงการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานด้านโทรทัศน์ประจำปี 2562” (ทุนสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ)
อดิพล เอื้อจรัสพันธุ์ (2555). หัวหน้า “โครงการวิจัยกระบวนการส่งเสริมเกษตรอินทรีย์แก่เกษตรกรรายย่อยในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลของเครือข่ายตลาดสีเขียว กรณีศึกษาตลาดสีเขียวรีเจนท์เฮ้าส์ (ทุนมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม)
บทความวิจัย
Euajarusphan, A., & Dumdee K. (2022). Consumption of Signs and the Influence of Popular Culture on Idol Groups in Thai Society Case Study: Idol Group BNK48 and Fan Club. CONNEXION Journal of Humanities and Social Sciences, 11(1) (Corresponding Author)
Adipon Euajarusphan (2021). Online Social Media Usage Behavior, Attitude, Satisfaction, and Online Social Media Literacy of Generation X, Generation Y, and Generation Z. PSAKU International Journal of Interdisciplinary Research. VOL.10 NO.2 (2021): P. 44-58.
Adipon Euajarusphan (2021). Cyberbullying and Thai Generation Z Youths in Bangkok, Thailand. International Journal of Crime, Law and Social Issues. VOL.8 NO.2 (2021): P. 43-55.
อดิพล เอื้อจรัสพันธุ์ (2564). สถานการณ์ รูปแบบและบทบาทรายการเกษตรของสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลของประเทศไทย.วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ.6(9), 160-175.
วิไลวรรณ จงวิไลเกษม, ศรัณย์ธร ศศิธนากรแก้ว, ระวีวรรณ ทรัพย์อินทร์ และ อดิพล เอื้อจรัสพันธุ์ (2564).เสียงสะท้อนและข้อเสนอเชิงนโยบายของ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอุตสาหกรรมโทรทัศน์ไทย ต่อการปฏิบัติงานด้านกิจการโทรทัศน์ของ กสทช. วารสารศาสตร์. 2(14). พ.ค.-ส.ค. 64 หน้า 145-174.
อดิพล เอื้อจรัสพันธุ์ (2564). สถานการณ์รายการเกษตรในโทรทัศน์ไทยและรูปแบบการนําเสนอเนื้อหาที่เหมาะสมต่อเกษตรกร.วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ.6(4).เม.ย. 64 หน้า 324-337.
วทิตา หิรัญบูรณะ และ อดิพล เอื้อจรัสพันธุ์ (2563). กลยุทธ์การสื่อสารและผลกระทบของผู้ทรงอิทธิพลทางด้านความคิดเกี่ยวกับสุขภาพบนสื่อสังคมออนไลน์. วารสารอินทนิลทักษิณสาร. 15(2). ก.ค.-ธ.ค. 63 หน้า 93-107 (Corresponding Author)
พิชคุณ เรืองรอง และ อดิพล เอื้อจรัสพันธุ์ (2563).แบบแผนความเชื่อในวัฒนธรรมย่อยของกลุ่มเด็กแว้นชนชั้นกลางที่อยู่ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสารศิลปกรรม.24(2). ก.ค.-ธ.ค. 63 หน้า 65-78. (Corresponding Author)
อดิพล เอื้อจรัสพันธุ์ (2562). การใช้สื่อทางการเกษตรของเกษตรกรไทย.วารสารศาสตร์. 2(12).พ.ค.-ส.ค. 62 หน้า 124-164.
อดิพล เอื้อจรัสพันธุ์ (2561). “พฤติกรรมการใช้สื่อของกลุ่มเจ็นเนอเรชั่น เอ็กซ์ และเจ็นเนอเรชั่น วาย”, วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม, 1(11) หน้า 59-65.
อดิพล เอื้อจรัสพันธุ์ และ ณัฐนิชา กรกิ่งมาลา (2561). กลยุทธ์และเครือข่ายการสื่อสารเพื่อสร้างชุมชนเข้มแข็งกรณีศึกษาชุมชนหัวตะเข้ เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร. วารสารนิเทศศาสตร์ธุรกิจบัณฑิตย์.12(2): หน้า221-247.
อดิพล เอื้อจรัสพันธุ์ (2554). เครือข่ายและกลยุทธ์การสื่อสารของสถาบันพัฒนาการเรียนรู้เกษตรอินทรีย์สุพรรณบุรี มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ. JC JOURNAL 3(2) (มกราคม – พฤษภาคม 2554)
Adipon Euajarusphan (2016). Media Use and Information Needs of Urban Farmer: A case study of Bangkok Metropolitan Region, Thailand. EUROPEAN ACADEMIC RESEARCH. Vol. III, Issue 11. (Impact Factor: 3.4546 (UIF)DRJI Value: 5.9 (B+))
บทความวิชาการ
กนกพร กลิ่นดอกแก้ว และ อดิพล เอื้อจรัสพันธุ์ (2565).ความรุนแรงเชิงวัฒนธรรม : ภาพสะท้อนการถูกกดทับจากการเรียนรู้ทางสังคมในสังคมไทย.วารสารสุทธิปริทัศน์. ปีที่ 36 ฉบับที่ ม.ค.-มี.ค. 65: หน้า 1-24. (Corresponding Author)
กันต์ธนัน ดำดี และ อดิพล เอื้อจรัสพันธุ์ (2564). มองไอดอล (Idol) ผ่าน BNK วารสารนิเทศศาสตร์ธุรกิจบัณฑิตย์. ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 (2021): หน้า 293-321. (Corresponding Author)
วัชระ คุณวงค์ และ อดิพล เอื้อจรัสพันธุ์ (2564). ภูมิทัศน์ความรุนแรงและการกลั่นแกล้งในสื่อออนไลน์.วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์นายเรืออากาศ. ปีที่ 9 :ธันวาคม 2564. หน้า 146-160 (Corresponding Author)
กนกวรรณ ปิ่นสิรานนท์ และ อดิพล เอื้อจรัสพันธุ์ (2564).มอง "แฟนคลับ” ผ่านงานวิจัยในประเทศไทย.วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม.ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 (2021): ม.ค. – มิ.ย. 2564 หน้า 22-31. (Corresponding Author)
Adipon Euajarusphan (2021). Mass Communication Charter: Concepts, Theories and Ethical Standards. Psychology and Education Journal. VOL. 58 NO. 3 (2021): P. 4253-4261.
เอกกมล จิระกุลชา และ อดิพล เอื้อจรัสพันธุ์ (2563).สติกเกอร์ท้ายรถ: วรรณกรรมของกลุ่มคนรถและกลุ่มเด็กแว้นกับการต่อสู้ทางสังคม.วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม. ปีที่8 ฉบับที่1(15) ม.ค.-มิ.ย. 63 หน้า 22-33. (Corresponding Author)
วรัญญา วิไลรัศมี และ อดิพล เอื้อจรัสพันธุ์ (2563). แนวโน้มการเดินทางท่องเที่ยวด้วยตนเองในประเทศญี่ปุ่นของประชากรกลุ่ม วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 ม.ค.-มิ.ย. 63 หน้า 111-124. (Corresponding Author)
อดิพล เอื้อจรัสพันธุ์ (2558). การสื่อสารเพื่อการพัฒนาเครือข่ายตลาดสีเขียว,วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม. ปีที่ 3 ฉบับที่ 1(5) ม.ค. - มิ.ย. 58 หน้า 26-37.
Adipon Euajarusphan (2021). Mass Communication Charter: Concepts, Theories and Ethical Standards. 12th International Social Sciences and Business Research Conference 22-24 February 2021, Henan University of Economics and Law, Henan, China (ทุนนำเสนอผลงานทางวิชาการระดับนานาชาติ กองทุนวิจัย วิทยาลัยนวัตกรรม)
Adipon Euajarusphan (2017). Generation Y’s Behaviors in Using Media: A case study of Bangkok Metropolitan Region, Thailand. The Asian Conference on Media, Communication & Film (MediAsia2017), Kobe, Japan. 27-29 October 2017. (ทุนเพิ่มพูนความรู้และเผยแพร่ผลงานวิชาการในต่างประเทศ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
Adipon Euajarusphan (2015). Media use and information needs of urban farmer: A case study of Bangkok Metropolitan Region, Thailand. Paper presented at International Conference on Communication/Culture and The Sustainable Development Goals (CCSDG): Challenges for a New Generation supported by UNESCO, Chiang Mai, Thailand. (ทุนนำเสนอผลงานวิชาการUNESCO)